Home » Archives for กรกฎาคม 2014
วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
server คือ
เซิร์ฟเวอร์ (อังกฤษ: server) หรือ เครื่องบริการ[1] หรือ เครื่องแม่ข่าย[2] คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำงานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการแก่ผู้ใช้ได้เป็นจำนวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทำงานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีกชั้นหนึ่ง
ตัวอย่างเซิร์ฟเวอร์ได้แก่
- เว็บเซิร์ฟเวอร์
- เมลเซิร์ฟเวอร์
- เนมเซิร์ฟเวอร์
- โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์ (DNS)
- นิวส์เซิร์ฟเวอร์
- วิดีโอสตรีมมิ่งเซิร์ฟเวอร์
- ไฟล์เซิร์ฟเวอร์
- ไทม์เซิร์ฟเวอร์
CMS คืออะไร
CMS คืออะไร
CMS ย่อมาจาก Content Management System เป็นระบบที่นำมาช่วยในการสร้างและบริหารเว็บไซต์แบบสำเร็จรูป โดยในการใช้งาน CMS นั้นผู้ใช้งานแทบไม่ต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรม ก็สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ ตัวของ CMS เองจะมีโปรแกรมแถมมาและสามารถแทรกเองได้มากมายเช่น webboard , ระบบจัดการป้ายโฆษณา , ระบบนับจำนวนผู้ชม แม้แต่กระทั่งตระกร้าสินค้า และอื่นๆอีกมากมาย
CMS เป็นเหมือนโปรแกรม โปรแกรมหนึ่ง ที่มีผู้พัฒนามาจากภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเว็บไซต์เช่น PHP , Python , ASP , JSP ซึ่งในปัจจุบันมีคนใจดีพัฒนา CMS ฟรีขึ้นมามากมายอย่างเช่น Mambo , Joomla , Wordpress
แน่นอนว่าผู้พัฒนาระบบ CMS ฟรี ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นล้วนเป็นมืออาชีพที่มีฝีมือในเรื่องของ เว็บไซต์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งการเขียนโปรแกรมที่รัดกุม การออกแบบเนวิเกชั่นที่ดี ทำให้ภาพรวมของเว็บไซต์ที่ใช้ CMS นั้นออกมาในแนวมืออาชีพอย่างมาก
ข้อดีของ CMS
1.ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการทำเว็บไซต์ เพียงแค่เคยพิมพ์ หรือเคยโพสข้อความในอินเทอร์เนต ก็สามารถมีเว็บไซต์เป็นของตัวเองได้
2.ไม่เสียเวลาในการพัฒนาเว็บไซต์ ไม่เสียเงินจำนวนมาก
3.ง่ายต่อการดูแล เพราะมีระบบจัดการทุกอย่างให้เราหมด
4.มีระบบจัดการที่เราสามารถหามาใส่เพิ่มได้มากมาย อย่างเช่น ระบบแกลลอรี่
5.สามารถเปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ง่ายๆ เพียงแค่โหลดทีม (Theme) ของ CMS นั้นๆ
ข้อเสียของ CMS
1.ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการออกแบบทีม (หน้าตาของเว็บ) เอง จะต้องใช้ความรู้มากกว่าปรกติ เนื้องจาก CMS มีหลายๆระบบมารวมกันทำให้เกิดความยุ่งยาก สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้
2.ผู้ใช้จะต้องศึกษาระบบ CMS ที่ผู้พัฒนาสร้างขึ้นมา เช่นจะต้องใส่ข้อความลงตรงไหน จะต้องแทรกภาพอย่างไร ซึ่งจะลำบากเพียงแค่ช่วงแรกเท่านั้น
3.ในการใช้งานจริงนั้นจะมีความยุ่งยากในการ set up ครั้งแรกกับ web server แต่ปัจจุบันก็มีผู้บริการ web server มากมายที่เสนอลงและ set up ระบบ CMS ให้ฟรีๆโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
เมื่อรวมๆข้อดีและข้อเสียดูแล้ว ก็ยังเห็นได้ว่า CMS นั้นก็เป็นระบบที่น่าใช้งานอยู่ดี
แนะนำ CMS
- Mambo CMS ตัวนี้มีผู้ใช้งานมากมายทั้งในหน่วยงานของรัฐ และผู้คนทั่วไป ทำให้มีคนให้เราสามารถปรึกษาได้มาก รวมถึงตัวระบบเองก็ใช้งานได้ง่าย และมีผู้พัฒนาอยู่ตลอดเวลา มีเว็บไซต์ภาษาไทยรองรับสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาและใช้งาน เช่น http://www.mambohub.com
CMS เป็นเหมือนโปรแกรม โปรแกรมหนึ่ง ที่มีผู้พัฒนามาจากภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเว็บไซต์เช่น PHP , Python , ASP , JSP ซึ่งในปัจจุบันมีคนใจดีพัฒนา CMS ฟรีขึ้นมามากมายอย่างเช่น Mambo , Joomla , Wordpress
แน่นอนว่าผู้พัฒนาระบบ CMS ฟรี ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นล้วนเป็นมืออาชีพที่มีฝีมือในเรื่องของ เว็บไซต์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งการเขียนโปรแกรมที่รัดกุม การออกแบบเนวิเกชั่นที่ดี ทำให้ภาพรวมของเว็บไซต์ที่ใช้ CMS นั้นออกมาในแนวมืออาชีพอย่างมาก
ข้อดีของ CMS
1.ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการทำเว็บไซต์ เพียงแค่เคยพิมพ์ หรือเคยโพสข้อความในอินเทอร์เนต ก็สามารถมีเว็บไซต์เป็นของตัวเองได้
2.ไม่เสียเวลาในการพัฒนาเว็บไซต์ ไม่เสียเงินจำนวนมาก
3.ง่ายต่อการดูแล เพราะมีระบบจัดการทุกอย่างให้เราหมด
4.มีระบบจัดการที่เราสามารถหามาใส่เพิ่มได้มากมาย อย่างเช่น ระบบแกลลอรี่
5.สามารถเปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ง่ายๆ เพียงแค่โหลดทีม (Theme) ของ CMS นั้นๆ
ข้อเสียของ CMS
1.ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการออกแบบทีม (หน้าตาของเว็บ) เอง จะต้องใช้ความรู้มากกว่าปรกติ เนื้องจาก CMS มีหลายๆระบบมารวมกันทำให้เกิดความยุ่งยาก สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้
2.ผู้ใช้จะต้องศึกษาระบบ CMS ที่ผู้พัฒนาสร้างขึ้นมา เช่นจะต้องใส่ข้อความลงตรงไหน จะต้องแทรกภาพอย่างไร ซึ่งจะลำบากเพียงแค่ช่วงแรกเท่านั้น
3.ในการใช้งานจริงนั้นจะมีความยุ่งยากในการ set up ครั้งแรกกับ web server แต่ปัจจุบันก็มีผู้บริการ web server มากมายที่เสนอลงและ set up ระบบ CMS ให้ฟรีๆโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
เมื่อรวมๆข้อดีและข้อเสียดูแล้ว ก็ยังเห็นได้ว่า CMS นั้นก็เป็นระบบที่น่าใช้งานอยู่ดี
แนะนำ CMS
- Mambo CMS ตัวนี้มีผู้ใช้งานมากมายทั้งในหน่วยงานของรัฐ และผู้คนทั่วไป ทำให้มีคนให้เราสามารถปรึกษาได้มาก รวมถึงตัวระบบเองก็ใช้งานได้ง่าย และมีผู้พัฒนาอยู่ตลอดเวลา มีเว็บไซต์ภาษาไทยรองรับสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาและใช้งาน เช่น http://www.mambohub.com
โดเมนเนม คืออะไร
โดเมนเนม (domain name) คือ ชื่อที่ใช้ระบุลงในคอมพิวเตอร์ เพื่อไปค้นหาในระบบ โดเมนเนมซีสเทม (Domain Name System) เพื่อระบุถึง ไอพีแอดเดรส ของชื่อนั้นๆ เป็นชื่อที่ผู้จดทะเบียนระบุให้กับผู้ใช้เพื่อเข้ามายังเว็บไซต์ของตน บางครั้ง เราอาจจะใช้ "ที่อยู่เว็บไซต์" หรือ "Web Address" แทนก็ได้
โดเมนเนม หรือ ชื่อโดเมน เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ เนื่องจากไอพีแอดเดรสนั้นจดจำได้ยาก และเมื่อเจ้าของเว็บไซต์มีการเปลี่ยนแปลงไอพีแอดเดรส ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสใหม่ ยังคงใช้โดเมนเนมเดิมได้ต่อไป
เงื่อนไขการตั้งชื่อโดเมนเนม อักขระที่จะใช้ในการตั้งชื่อโดเมนเนม ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และ "-" (ยัติภังค์) คั่นด้วย "." (มหัพภาค) มีความยาวตั้งแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรตัวเล็ก ถือว่าเหมือนกัน
เมื่อนำโดเมนเนม มาตั้ง DNS ไปที่โฮสติ้ง (และที่โฮสติ้งต้องตั้งรับโดเมนเนมที่ชี้เข้ามาด้วย) คุณก็จะสามารถเข้าเว็บผ่านโดเมนเนมได้ แต่ถ้าไม่มีโดเมน คุณก็จะต้องเข้าเว็บไซต์ผ่านหมายเลขไอพี ของเว็บโฮสติ้งแทน เช่น http://61.19.246.213/~username/ เป็นต้น
โดเมนเนม หรือ ชื่อโดเมน เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ เนื่องจากไอพีแอดเดรสนั้นจดจำได้ยาก และเมื่อเจ้าของเว็บไซต์มีการเปลี่ยนแปลงไอพีแอดเดรส ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสใหม่ ยังคงใช้โดเมนเนมเดิมได้ต่อไป
เงื่อนไขการตั้งชื่อโดเมนเนม อักขระที่จะใช้ในการตั้งชื่อโดเมนเนม ได้แก่ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และ "-" (ยัติภังค์) คั่นด้วย "." (มหัพภาค) มีความยาวตั้งแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรตัวเล็ก ถือว่าเหมือนกัน
เมื่อนำโดเมนเนม มาตั้ง DNS ไปที่โฮสติ้ง (และที่โฮสติ้งต้องตั้งรับโดเมนเนมที่ชี้เข้ามาด้วย) คุณก็จะสามารถเข้าเว็บผ่านโดเมนเนมได้ แต่ถ้าไม่มีโดเมน คุณก็จะต้องเข้าเว็บไซต์ผ่านหมายเลขไอพี ของเว็บโฮสติ้งแทน เช่น http://61.19.246.213/~username/ เป็นต้น
เว็บโฮสติ้งคืออะไร
เว็บโฮสติ้ง (Web Hosting) คือ รูปแบบการให้บริการสำหรับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ใช้งานนั้นมีความต้องที่จะฝากเว็บไซต์ของตนเองไว้กับผู้ให้บริการเซิฟเวอร์ (HSP: Hosting Service Provider) เพื่อให้เว็บไซต์ของตนเองนั้น ออนไลน์อยู่่บนโลกอินเทอร์เน็ตตลอด 24 ชม.
โดยที่ทางผู้ให้บริการจะจัดเก็บข้อมูลเว็บไซต์ ฐานข้อมูล อีเมล์ ฯลฯ ไว้ในเครื่องเซิฟเวอร์ หรือที่เรียกกันว่าเว็บเซิฟเวอร์ (Web Server) ซึ่งเว็บเซิฟเวอร์จะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่จะแสดงผลหน้าเว็บไซต์ให้กับผู้ท่องอินเทอร์เน็ตทั่วไปได้เช้าชมผ่านโดเมนเนม(เช่น www.7elevenhosting.com) ได้ตลอดเวลา
ดังนั้นผู้ที่ต้องการออนไลน์เว็บไซต์ของตนเองจึงต้องคำนึงถึงเว็บเซิฟเวอร์ก่อน แต่ด้วยความที่เว็บเซิฟเวอร์นั้นมีราคาค่อนข้างสูง บวกกับจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญที่จะคอยดูแลเซิฟเวอร์ในด้านเทคนิคต่างๆ อีก ทำให้เจ้าของเว็บไซต์ส่วนใหญ่จึงหันมาใช้บริการ Web Hosting เนื่องจากค่าใช้จ่ายน้อยกว่ามาก
การหา เว็บโฮสติ้ง ที่ดี ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง
นี่คือ เหตุผลที่สำคัญของการให้บริการ เว็บโฮสติ้ง
การบริการ: ผู้ให้บริการ เว็บโฮสติ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ในด้าน เว็บโฮสติ้ง โดยเฉพาะ อีกทั้งต้องคอยดูแลเซิฟเวอร์และคอยบริการแก้ไขปัญหาของผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ไม่ปล่อยให้ปัญหาค้างคาจนธุรกิจของลูกค้าเสียหาย
Server: เซิฟเวอร์ต้องมีประสิทธิภาพ เสถียร ไม่ล่ม ต้องมี Uptime เกิน 99.9% ไม่ใช้ PC มาแอบอ้าง และต้องมีหน่วยประมวลผลที่รวดเร็ว เพื่อให้เข้าเว็บไซต์ได้แบบไม่ต้องรอโหลดนาน เช่น DELL PowerEdge R210-II Server เป็นต้น
Location: เซิฟเวอร์ต้องตั้งอยู่ใน Data Center ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตทั่วโลกตลอด 24 ชม. ด้วยความเร็วสูงสุด พร้อมต้องมีเจ้าหน้าที่ควบคุมความปลอดภัยในด้านต่างๆ เช่น CAT-IDC ที่อาคาร กสท. เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ
(
Atom
)